สิ่งที่ได้ในวันนี้ (22 เมษายน
2560)
เช้าที่แสนสดใส พร้อมรับวันใหม่ ด้วยใจที่ชื่นบาน วันนี้ฉันได้ไปดูตามป้ายต่างๆที่ติดอยู่ตามอาคาร เห็นวิธีคิดบวก เห็นผลงานนักเรียน เห็นป้ายข่าวโรงเรียน และเห็นภาพการก่อสร้างโรงเรียน
ทำจิตศึกษาที่ห้องอนุบาล ครูภรเตรียมความพร้อมด้วยการร้องเพลง และทำท่าประกอบ ได้แก่เพลง ความเกรงใจ นับเลข จี-แอล
และการปรบมือแบบไม่มีเสียง
ถ้าคิดเป็น
ชง เชื่อม ใช้ ก็จะเป็นดังนี้
ชง
: ครูหยิบคลิปหนีบกระดาษ
และ ยาง ขึ้นมาแล้วถามที่ระอย่างว่า เราเคยเจอที่ไหน
สองสิ่งนี้มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (คนที่ตอบ จะยกมือ)
เชื่อม
: ครูให้นำสองสิ่งนี้มารวมกันที่กระดาษ
แล้ววาดรูปเสริม ตามจินตนาการ
ใช้ :
ตั้งชื่อเรื่องของชิ้นงานนี้ และเล่าเรื่องจากภาพ
โดยขออาสาคนพูดก่อนแล้วก็เวียนไปด้านใดด้านหนึ่ง
***ทุกครั้งที่ส่งของผู้รับก็ไหว้ผู้ส่ง
ผู้ส่งก็รับไหว้อย่างนอบน้อม
***กริยาของครูควรที่จะอ่อนโยน
และนอบน้อม เมื่อนักเรียนตอบเสร็จ ก็จะกล่าวขอบคุณ เป็นการสร้าง เอ็มพาวเวอร์
เข้าห้องอบรมใหญ่ ครูต๋อยเตรียมความพร้อมด้วยการร้องเพลงพร้อมทำท่าประกอบ และเข้ากลุ่มพร้อมให้โจทย์
ด้วยการ ให้กระดาษมา แล้วทำตะกร้า กิจกรรมนี้ก็ทำเราได้สร้าสัมพันธภาพที่ดีต่อกันกับเพื่อนต่างสถาบัน เราออกความ
เห็น วางแผน แบ่งงาน และลงมือทำ
ได้เรียนรู้ และลงมือทำ การเขียนแผน PBL รู้วิธีการเขียนแผน องค์ประกอบของแผน การสอนแห่งนี้นักเรียนจะมีส่วนในการออกแบบการเรียน ผู้ปกครองก็เช่นเดียวกัน
ด้วยการ ให้กระดาษมา แล้วทำตะกร้า กิจกรรมนี้ก็ทำเราได้สร้าสัมพันธภาพที่ดีต่อกันกับเพื่อนต่างสถาบัน เราออกความ
เห็น วางแผน แบ่งงาน และลงมือทำ
ได้เรียนรู้ และลงมือทำ การเขียนแผน PBL รู้วิธีการเขียนแผน องค์ประกอบของแผน การสอนแห่งนี้นักเรียนจะมีส่วนในการออกแบบการเรียน ผู้ปกครองก็เช่นเดียวกัน
องค์ประกอบของแผน
PBL
ชื่อหน่วย
สัปดาห์ที่ ภูมิหลัง เป้าหมาย และก็เป็นปฏิทินการเรียนรู้ ซึ่งมี 5 ช่อง
ประกอบด้วย Week
Input Process Output และท้ายสุดคือมาตรฐานตัวชี้วัด
ในการสอนควรคำนึงถึง What How Why (Why เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด)
ได้รู้ การทำ STEM ซึ่งก่อย่อมากจากชื่อวิชา
5 วิชา
คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวะ
คณิตศาสตร์
ทำงานเป็นทีมนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
เราได้วางแผนการทำตะกร้าจากกระดาษที่ใช้แล้ว เมื่อทำสำเร็จ
แล้ว ก็เขียนเป็นแผนผังความคิด
ความรู้ใหม่ก็คือ การวางแผนขีวิตตัวเอง การวางตัวแล้ว ก็เขียนเป็นแผนผังความคิด
สิ่งที่เป็นความรู้ใหม่ก็คือ
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhik6nkP2jlwURKmgLSK2R7qidM5fEy5qrI-CunpzVli_6OvjCjs8jBP02Ej3SK8M98LNWPxe76Cacj0BsY3lD9qpkZnOBAUTGNjnuH7YxGcPyljrNmatAsSrCBUi45yjk_PBETFhsW4w/s640/001.png)
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiAVkfwWXvzInT2gNvb5_nfodbEdvH9Qd4DvL-h8oqdogZ_hSIsrFQVR9KS84u6FI5oRUyVk5JpFo45yTH3mR7hk5r0Hb8TjGTGiMa9mfO18KogjUkLiEtIt3kt8mnO0FzxSQfQJttuhg/s640/002.png)
สิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจ : เห็นคุณครูที่ลำปลายมาศพัฒนา มีความรู้แน่น มีความหยืดหยุ่น มีศาสตร์ใหม่ๆ คิดนอกกรอบ และยังวางตัวดี น่าเชื่อถือ เป็นแแบบอย่างที่ดี จึงทำให้ดิฉันรู้สึกประทับใจ และอยากเป็นเช่นนั้นบ้าง ^^
(ชิ้นงาน : STEM, เว็บเชื่อมโยง,ภาพรวมกิจกรรม และประวัติส่วนตัว)
ภาพรวมกิจกรรม
ผังความคิด (Web) เชื่อมโยงหน่วย Topic กินเป็นปลูกเป็น มัธยมศึกษาปีที่ 1
STEM
เว็บเชื่อมโยง
ประวัติส่วนตัว
สิ่งที่ได้ในวันนี้ (23 เมษายน
2560)
ช่วงเช้าทำจิตศึกษาได้เรียนรู้ท่าโยคะ เช่น ท่าภูเขา ท่าผีเสื้อ ท่าหงส์ ท่าจระเข้ เป็นต้น
ได้แลกเปลี่ยนความรู้สึก ประสบการณ์ แบ่งเป็น ก ข สลับกันเล่า เมื่อมีคนเล่า คนฟังจะฟังอย่างเดียว (พูดเรื่องความสุขทุกข์ ชีวิตวัยเด็ก คนที่คิดถึง ครู พ่อแม่)
ได้เรียนรู้การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้พัฒนาปัญญาภายใน โดย “จิตศึกษา” และได้ลงมือทำ 2 แผน กิจกรรมจิตศึกษาแต่ละวันก็จะมีวิธีการไม่เหมือนกัน ดิฉันได้รู้ของระดับชั้นประถมศึกษามาว่า วันจันทร์ คือ วัสดุธรรมชาติ สื่อ อุปกรณ์ต่างๆ, วันอังคาร คือ บูรณการวิชาต่างๆ เช่น คณิต ไทย อังกฤษ, วันพุธ คือ ศิลปะ ดนตรี, วันพฤหัสบดี คือ โยคะ, วันศุกร์ คือ วรรณกรรม เรื่องเล่า ประสบการณ์
ความรู้ใหม่
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายใน (จิตศึกษา)
-
สัปดาห์
-
วัน
-
เป้าหมาย
= ขั้นเตรียม ขั้นกิจกรรม ขั้นจบ
-
กิจกรรม
= (ชื่อ.....) ขั้นเตรียม 5 นาที ขั้นกิจกรรม 15
นาที ขั้นจบ 5 นาที
-
สื่อ/อุปกรณ์
ช่วงบ่าย
ทำ Body
scan และได้ความรู้ใหม่ คือ
เราได้เรียนรู้วิธีการเขียนแผนจิตศึกษา 2 แผน ดังนี้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา” ระดับชั้น ประถมศึกษา
วัน
|
กิจกรรม
|
เป้าหมาย
|
กระบวนการดำเนินกิจกรรม
|
สื่อ/อุปกรณ์
|
จันทร์
(วัสดุธรรมชาติ สื่อ อุปกรณ์ต่างๆ)
|
ใบไม้กับชีวิต
|
ขั้นเตรียม :
-
ฝึกการมีสติกลับมารู้ตัว
-
จดจ่อกับสิ่งที่ทำรับรู้ลม
หายใจ
|
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-
ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
แล้วไหว้ทักทาย
กันด้วยความนอบน้อม
-
Brain Gym (ทำมือนับ 1 -10 สลับไปมา, กลม
เหลี่ยม,
เช้าวันหนึ่งวันนั้น)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆ
อย่างมีสติ หายใจ
เข้ายาวๆ
และหายใจออกช้าๆ 2-3
ครั้ง เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา
2
– 3 ครั้งเพื่อปรับแสง
|
-
ใบไม้สด
-
ใบไม้แห้ง
-
กระดาษ A4
-
ปากกา
-
เพลงสปาผ่อนคลาย
|
ขั้นกิจกรรม
:
-
ฝึกการมีสติรู้ตัว การมี
สมาธิจดจ่อ
-
เห็นคุณค่าในตัวเอง ผู้อื่น
และสิ่งต่างๆรอบตัว
-
เห็นความสัมพันธ์และ
การเชื่อมโยงระหว่างตนเองกับสิ่งต่างๆรอบตัว
-
ฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง
และสิ่งอื่น
|
ขั้นกิจกรรม
( 15
นาที )
-
ครูนำใบไม้สด กับใบไม้แห้งชนิดเดียวกันให้
นักเรียนดู
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
“ครูหยิบใบไม่สดขึ้นแล้วถามนักเรียนเห็นอะไร,
รู้สึกอย่างไร”
“ครูหยิบใบไม่แห้งขึ้นแล้วถามนักเรียนเห็นอะไร, รู้สึกอย่างไร”
-
ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบว่าใบไม่ 2 ใบนี้สิ่งที
เหมือนกันคืออะไร
และสิ่งที่ต่างกันอย่างไร
-
ครูส่งกระดาษและปากกา
พร้อมถามนักเรียนว่า
ถ้านักเรียนเปรียบใบไม้ 2 ใบนี้เป็นสิ่งใกล้ตัว นักเรียนจะเปรียบเป็นอะไรเพราะเหตุใด ให้ส่งต่อไปเรื่อยๆ
มีการไหว้ขอบคุณกันและกันอย่างนอบน้อม
-
ครูให้นักเรียนเขียนว่ารู้สึกอย่างไรกับใบไม้
2
ใบนี้,
นักเรียนเปรียบเทียบ
2
สิ่งนี้เป็นอะไร
และนักเรียนคิดว่าตัวนักเรียนเป็นใบไม้สดหรือใบไม้แห่ง
-
นักเรียนร่วมนำเสนอแลกเปลี่ยนเรื่องราวของ
ตนเอง,
ผลงานของตนเอง
|
|||
ขั้นจบ
-
เคารพคุณค่าของตนเองและ
ผู้อื่น
|
ขั้นจบ
(5
นาที)
-
ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจ
ของนักเรียนทุกคน
ขอบคุณเรื่องราวที่มีความหมายดีๆ
-
ครูและนักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา” ระดับชั้นประถมศึกษา
วัน
|
กิจกรรม
|
เป้าหมาย
|
กระบวนการดำเนินกิจกรรม
|
สื่อ/อุปกรณ์
|
อังคาร
(บูรณาการวิชาต่างๆ เช่น ไทย คณิต
อังกฤษ)
|
รูปทรงเล่าเรื่องราว
|
ขั้นเตรียม :
-
รู้ตัว มีสติ
-
มีสมาธิ จิตจดจ่อ
|
กิจกรรม : รูปทรงเล่าเรื่องราว
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-
ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
แล้วไหว้ทักทายกัน
ด้วยความนอบน้อม
-
Brain Gym (จีบ-แอล, กระดาษ,
ซาลาเปา)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆ
อย่างมีสติ หายใจ
เข้ายาวๆ
และหายใจออกช้าๆ 2-3
ครั้ง เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูพูดกับนักเรียนถ้านักเรียนได้ยินที่ครูพูดให้ยกมือ
ขวาขึ้น –
เอามือ
ลง
ถ้าได้ยินที่ครูพูดให้ยกมือซ้ายขึ้น – เอามือลง
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา
2
– 3 ครั้งเพื่อปรับแสง
และพร้อมทำกิจกรรม
|
-
บล็อกรูปทรงสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม
และวงกลม
-
กระดาษ A4
-
ปากกา
- เพลงสปาผ่อนคลาย
|
ขั้นกิจกรรม
:
-
ฝึกการมีสติรู้ตัว การมี
สมาธิจดจ่อ
-
เคารพ นอบน้อม ต่อ
ตนเอง
และสรรพสิ่ง
-
ฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง
และสิ่งอื่น
|
ขั้นกิจกรรม
( 15
นาที )
-
ครูนำบล็อกรูปทรง สามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยม วงกลม
ให้นักเรียนดู
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
“นักเรียนเห็น
อะไร,
รู้สึก
อย่างไร”
-
ครูส่งตะกร้าอุปกรณ์ให้นักเรียน
นักเรียนหยิบคน
ละหนึ่งชุด
(กระดาษ
A4, ปากกา) มีการไหว้ขอบคุณกันและกันอย่างนอบน้อม
-
ครูให้นักเรียนวาดรูปอะไรก็ได้ ให้มีรูปทรง
สามเหลี่ยม
สี่เหลี่ยม วงกลมอยู่ในภาพนั้น
-
ครูถามว่า
รูปภาพที่นักเรียนวาดชื่อว่าภาพอะไร
-
ครูให้นักเรียนเล่านิทานตามภาพที่นักเรียนเป็นคน
เขียน
การเล่าจะเป็นรายคน เรียงไปเรื่อยๆ
|
|||
ขั้นจบ
-
ฝึกการมีสติสมาธิ
|
ขั้นจบ
(5
นาที)
-
ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจ
ของนักเรียนทุกคน
ขอบคุณเรื่องราวที่มีความหมายดีๆ
-
ครูและนักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
|
ตรงนี้เป็นแรงบันดาลใจ : จากที่ครูใหญ่ได้บรรยายให้เราฟัง คือ
การสอนนักเรียนสิ่งที่ควรลดคือ
การสอนนักเรียนสิ่งที่ควรลดคือ
-
การเปรียบเทียบ =
ตีค่า
-
คำพูดด้านลบ
-
ความกลัว
-
ใช้ความรุนแรง
-
ยัดเหยียดความรู้
เพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็นการลดคุณค่าตัวนักเรียน
คุณค่าการเป็นมนุษย์
(ครูควรทำ)
เคารพ ให้เกียรติ
ศรัทธา
การปรับพฤติกรรมเชิงบวก
-
ให้รู้ตัว
-
ให้การเรียนรู้
-
ให้การฝึกฝน
ปัญญาภายใน
-
จิตใหญ่ รักได้มหาศาล
-
เห็นคุณค่า ตัวเอง
คนอื่น สิ่งอื่น
-
สติชำนาญ
รู้เท่าทันอารมณ์
-
สมาธิยาวขึ้น
กำกับความเพียรให้งานลุล่วง
และเมื่อเรารู้อย่างนี้แล้ว เราก็อยากปฏิบัติตามให้ได้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้ดีทั้งทางด้านความรู้ และทางด้านจิตใจ
Body
Scan
ช่วงเช้าแยกเข้าตามห้อง
ดิฉันได้สอนนักเรียน ป.1
จึงเข้าอบรมกับครูอนุบาล
และ ป.1
เพราะการทำจิตศึกษา
และ Body
Scan จะค่อยข้างคล้ายกัน
วันนี้คุณครูให้จะเกริ่นนำถึงกระดาษ และนางฟ้า
แล้วครูให้เราฉีกกระดาษอย่างไรก็ได้ให้ได้ยาวที่สุด เพื่อให้ไปถึงปราสาทนางฟ้า
การทำกิจกรรมนี้ช่วยเสริมทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก การคิด และจินตนาการ ต่อมาได้เรียนรู้การทำ Body
Scan ครูจะนำทำให้ดูก่อน
แล้วก็ให้แบ่งกลุ่ม ดิฉันได้การทำ Body Scan แบบนั่ง
และดิฉันเป็นตัวแทนกลุ่มนำทำกิจกรรม Body Scan แบบนั่ง แล้วก็ได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้กันทั้ง 3 กลุ่ม
ทั้ง แบบยืน แบบนั่ง และแบบนอน แต่ละแบบก็จะมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นเตรียม
ขั้นผ่อนคลาย ขั้นใส่ข้อมูล และขั้นปลุก
ในขั้นผ่อนคลายจะไล่ลำดับการผ่อยคลายจากอวัยวะที่สูงลงมาเรื่อยๆ
ขั้นใส่ข้อมูลจะจากล่างขึ้นบน
ขั้นปลุกเมื่อลืมตาจะให้นวดเบาๆเพื่อนความผ่อนคลายและตื่นตัว
ประทับใจวิธีการทำ Body Scan และก็ได้ลงมือทำแผนด้วยดังนี้
ฉีกให้ยาวที่สุด
เดินบนสะพานไปหาพี่นางฟ้า
ประทับใจวิธีการทำ Body Scan และก็ได้ลงมือทำแผนด้วยดังนี้
Body
scan (แบบนั่ง)
ขั้นเตรียม
: ทุกคนนั่งเป็นวงกลมในท่าที่สบาย
ในท่าขัดสมาธิมือทั่งสองข้างวางที่น่าตักสูดลมหายใจเข้าลึกๆ ผ่อนลมหายใจออกยาวๆ
รับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกแล้วค่อยๆปิดเปลือกตาลงช้าๆ รู้สึกผ่อนคลาย เบา สบาย
ที่เปลือกตา หายใจเข้ารู้สึกผ่อนคลาย หายใจออกรู้สึกสบาย จดจ่อการรับรู้ขณะหายใจ
ขั้นผ่อนคลาย
: ผ่อนคลายกล้ามเนื้อทุกส่วนบนใบหน้าของเราให้รู้สึกสบายและมีความสุข
ส่งต่อความรู้สึกมาที่คิ้วทั้ง 2 ข้าง
คิ้วที่ขมวดอยู่ให้คลายออกเรารู้สึกสบายและมีความสุข
ส่งต่อความรู้สึกมาที่ริมฝีปาก
ริมฝีปากที่เม้มอยู่คลายออกเราเรารู้สึกผ่อนคลายและมีความสุข
ส่งต่อความรู้สึกมาที่หัวไหล่ทั้ง 2 ข้าง
หัวไหล่ที่เกร็งอยู่เราจะค่อยๆ ผ่อนคลาย ให้อยู่ในท่าที่สบายและมีความสุข
ส่งต่อความรู้สึกมาที่หลัง หลังที่เกร็งอยู่ของเราได้รับการผ่อนคลาย
เรารู้สึกสบายและมีความสุข ส่งต่อความรู้สึกมาที่สะโพกของเรา
สะโพกที่รอบรับน้ำหนักของเรา ให้ได้รับการผ่อนคลาย สบาย และมีความสุข
ส่งต่อความรู้สึกมาที่ต้นขาทั้ง 2 ข้า
ต้นขารับรู้แรงกดของส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ได้ผ่อนคลาย เรารู้สึกสบายและมีความสุข
ใส่ข้อมูล
: ให้ทุกคนกลับมารับรู้ลมหายใจของตนเอง
หายใจเข้ารู้สึกขอบคุณสรรพสิ่งรอบๆตัวเรา
หายใจออกส่งมอบพลังความรักและความปรารถนาดีให้กับสรรพสิ่งรอบตัวเรา ขอบคุณขาทั้ง 2 ข้างที่รอบรับน้ำหนัก
ทำให้เราได้ยืนอย่างมั่นคง ขอบคุณแผ่นหลังที่แข็งแรงของเรา ขออบคุณมือทั้ง 2 ข้า
ที่ทำให้เราได้หยิบจับสิ่งของต่างๆ และสรรค์สร้างสิ่งที่ดีต่อโลก
ขอบคุณทุกสรรพสิ่งที่ทำให้เราได้เป็นส่วนหนึ่งของจักรวาล
ขอบคุณปากที่ทำให้เราได้พูดสิ่งที่ดี เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น ขอบคุณหูทั้ง
2 ข้าง
ที่ทำให้เราได้ยินเสียงของสรรพสิ่งรอบตัวเราแล้วบอกกับตนเองว่า
เราจะรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเป็นผู้ฟังที่ดี ขอบคุณดวงตาทั้ง 2 ข้างที่ทำให้เรามองเห็นสรรพสิ่งรอบตัวเราและบอกตนเองว่าเราจะเป็นคนที่มีสายตากว้างไกล
มองเห็นสิ่งต่างๆด้วยความจริง ขอบคุณร่างกายทุกส่วนที่รวมเป็นตัวเรา
ขอบคุณทุกลมหายใจที่ทำให้เราได้เป็นส่วนหนึ่งของจักรวาล
ขั้นปลุก
: ทุกคนกับมารู้รับลมหายใจของตนเอง
หายใจเข้ารู้สึกสบาย หายจออกรู้สึกผ่อนคลาย
นับ 1 รับรู้ความรู้สึกไปที่เท้าและต้นขาทั้ง
2 ข้าง
นับ 2 รับรู้ความรู้สึกมาที่มือทั้ง
2 ข้าง
ขยับนิ้วทั้ง 2
ข้าง
นับ 3 รับรู้ความรู้สึกที่เปลือกตาทั้ง
2 ข้าง
เราจะกระพริบตาถี่ๆ เพื่อให้ดวงตาปรับให้แสงในตอนนี้ จากนั้นค่อยๆเหยียดขาทั้ง 2 ข้างออกมา
พร้อมบีบนวดเบาๆ ที่เท้าไล่มาที่ต้นขาเพื่อให้รู้สึกผ่อนคลาย และสบาย
PLC
PLC ก็เป็นวิธีหนึ่งที่สร้างการรับรู้แบบใหม่ที่สมบูรณ์ขึ้น
เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิด Transformative learning และ PLC ก็เป็นกระบวนการทั้งเป็นวิธีที่จะทำให้คนในกลุ่ม
เกิดการรับรู้ใหม่ที่ได้ Information
แบบใหม่ที่ทั้งกว้างขึ้นและลึกขึ้น
จนเห็นมุมมองใหม่ เกิดความเข้าใจใหม่ เกิดความเชื่อใหม่ เป็น Mindset
ใหม่
การเรียนรู้ผ่าน PLC
นั้นไม่ใช่เพียงแค่คนใดคนหนึ่งจะเปลี่ยนแกนอ้างอิง
แต่สิ่งแวดล้อมก็เปลี่ยนแกนอ้างอิงไปด้วย (คนแต่ละคนในกลุ่มคือสิ่งแวดล้อม
ของกันและกัน)
ความรู้ใหม่
บล็อก
รู้วิธีการนำงานที่เราทำส่งในบล็อกส่วนตัวของเรา
1. สมัคร
G-mail
(ทางโรงเรียนสมัครให้)
2. ตอบรับคำเชิญในการสร้างบล็อก
2. ลงรูปที่เราจะส่งในกูเกิลไดรฟ์
4.เข้าที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
| ปีการศึกษา 2560 แล้วคลิกที่ชื่อตนเอง
5. เข้าไปใส่หน้าแรก
ประวัติเรา
6. กดเข้าที่
Main
แล้วกดที่ดินสอ
7. ใส่
การบ้าน หรือ สิ่งที่เราต้องการเข้าไป
8. เมื่อเรียบร้อยแล้ว
กดอัปเดต
ชิ้นงาน : วันนี้ ส่งปฏิทิน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
PBL
( Problem Based Learning)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
PBL
( Problem Based Learning)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1
ภาคเรียนที่ 1 ( Quarter 1 ) ปีการศึกษา 2559 หน่วย
:
กินเป็นปลูกเป็น
คำถามหลัก
(
Big Question) :
การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ปลอดภัยมีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา
:
ในยุคปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีการพัฒนาอาหาร
แปรรูปอย่างมากมายแต่จะมีสักกี่ประเภทที่ปลอดภัยไร้สารเคมี
ใส่ใจผู้บริโภคอย่างแท้จริง จึงทำให้ผู้คนหันมาปลูกเอง ทำเอง กินเองมากขึ้น
เพื่อสุขภาพ ความปลอดภัยของตนเองและคนรอบข้าง
ฉะนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิต
ดังนั้นการได้เรียนรู้เรื่องกินเป็นปลูกเป็นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง
เพื่อให้นักเรียนตระหนักในการเลือกรับประทานอาหารปลอดสารพิษตลอดจนได้ใช้ทักษะในการดำรงชีวิตและการแก้ปัญหา
เป้าหมายของความเข้าใจ
(Understanding
goal)
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการเลือกรับประทานอาหารการปลูกผักปลอดสารพิษ
อีกทั้งตระหนักในการมีสุขภาวะที่ดีทั้งกายและใจ
สามารถนำองค์ความรู้มาปรับใช้ในวิถีชีวิต และถ่ายทอดหรือเสนอแนะต่อผู้อื่นได้
เวลา 21 สัปดาห์
สอนโดย
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
1 - 3
|
โจทย์
สร้างฉันทะ(กระตุ้นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้)
สำรวจ
Key Question
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก
5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show
and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ทุ่งนาของโรงเรียนฯ
- เมล็ดพันธุ์ข้าว
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- ผู้รู้
- ท่อปูนซีเมนต์
- ดินสำหรับเพาะปลูก
- ปุ๋ย
- ดิน
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวข้าวคนละประมาณ 1 กำมือ จากแปลงนาหลังโรงเรียน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนมีวิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์และมีคุณภาพได้อย่างไร?”-ครูให้โจทย์ “นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5
เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด
ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ข้าว
- คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
- ปรุงดินตามสูตรที่ได้ออกแบบไว้
พร้อมทั้งเพาะต้นกล้า
ชิ้นงาน
- เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์จำนวน 5 เมล็ด
- สูตรการปรุงดิน / ต้นกล้า
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- นวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก
5 เมล็ด ให้ได้ 2500 เมล็ด
-
การคัดเลือกและคัดแยกเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
-
การตรวจสอบความเหมาะสมของต้นข้าวที่จะเจริญเติบโตในท่อปูนซีเมนต์
- วิธีการปรุงดินที่มีคุณภาพและการเพาะต้นกล้าที่ใช้สำหรับเพาะปลูก
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิถีดั่งเดิมของชาวนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณภาพ
- สามารถวิเคราะห์ผลการตรวจสอบค่าความเป็น
กรด-เบส ของท่อปูนซีเมนต์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกข้าวได้
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้ในทุกๆ ขั้นตอน
ผ่านกระบวนการบันทึกและสร้างเป็นชิ้นงาน อาทิเช่น Flow
chart ,เขียนบรรยายประกอบรูป วิดีโอสรุปการทำกิจกรรม ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- ความมีน้ำใจ
- มีความสามัคคี
- มีความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
4
|
โจทย์
วางแผนการเรียนรู้
- เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
Key Question
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
- กระดาษชาร์ต
- สารคดี Food Inc
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร?”
- ครูแจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคน โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้
โดย 1 เรื่อง ต่อการ์ด 1แผ่น (Card & Chart)
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้(
Think Pair Share )
- ตั้งชื่อโครงงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
- ทำปฏิทินการเรียนรู้ 20 สัปดาห์
- เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูสารคดี Food Inc
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- หัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อTopic
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
อธิบายและปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ในการทำงานกลุ่มรวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
ทักษะ
- ทักษะชีวิต- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ปฏิทินการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้น |
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
5
– 6
|
โจทย์
ประเภทของสารอาหาร
/ วิธีการตรวจสอบสารอาหารKey
Questions
-
นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด
-ให้นักเรียนทำอาหารเมนูที่ร่วมกันเลือกภายในห้อง
-
นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Mind mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
-
เมนูอาหารมื้อเช้า
|
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด?”
-
นักเรียนแต่ละคนเลือกเมนูอาหารที่ตนเองทานบ่อยที่สุดคนละ 1 เมนู
พร้อมบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
-นักเรียนลงมือปฏิบัติในการประกอบอาหาร
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร
5หมู่)
-
ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้
เกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
-
นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
ชิ้นงาน
- Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทขอสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะสังคม
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น Mind Mapping,ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
...................
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย
: “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 /2557
...................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
||
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
|
มาตรฐาน
ว 1.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1ม.1/7)
- สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้
(ศ 1.1 ม.1/1)
- สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
(
ศ 1.1ม.1/2)
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
|
มาตรฐาน
พ 1.1
- สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 ม.1/1)
- สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1ม.1/2)
- สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (พ1.1 ม.1/3,
4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
- สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
- ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม.1/2)
- สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ
สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้
(ง 1.1 ม.2/1)
- สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
...........................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดูVDO
การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้
(ศ 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน
ศ 1.2
- สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
-
สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ
ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน
ศ 3.2
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
|
- สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้
(พ 1.1 ม.2/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ1.1ม.2/2)
- สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
แต่ละช่วงของชีวิตได้ (พ1.1 ม.3/1)
- สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้
(พ 1.1 ม.4-6/2)
- สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์
และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
(พ 2.1ม.1/1)
|
มาตรฐาน
ง 2.1
- สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน
และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้
เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
(ง 3.1 ม.1/2)
- สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน
ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้
(ส 3.1 ม.1/2)
|
...............................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
||||
- ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
- วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
- กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน
โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง
ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล
(ว8.1 ม.2/1 )
- นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
- สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้ (ว 8.1ม.1/4)
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน
ว 3.2
- ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน
พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง.4.1 ม.3/
3)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้
(ส 2.1ม.1/4)
|
|||
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
||||
มาตรฐาน
ว 3.1
- สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร (ว3.1ม.1/2)
- สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ (ว3.1ม.1/1)
- สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
(ว3.1ม.1/3)
|
มาตรฐาน
ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้
(ส 3.1ม.1/2)
|
|||||||
- หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
- ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
- กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
|
มาตรฐาน
ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
|
มาตรฐาน
พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
|
|||
.........................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
|
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
จิตสำนึกและ
ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/
4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง.4.1 ม.3/
3)
|
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
||
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
|
มาตรฐาน
ว 1.1
- ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7) -ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
|
มาตรฐาน
พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
|
................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
- สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)
- ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10) - อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)
|
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง.4.1 ม.3/
3)
|
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก
ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
(PBL) หน่วย : "กินเป็นปลูกเป็น
"
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 Quarter 2 ภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 2557
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
12
- 14
|
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน
และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1 เดือน
Key
Questions
- จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ
นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
- นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน
และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
-
ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต โรคอ้วน
-
กระดาษสีขาวบาง
-
น้ำมันพืช
-
อุปกรณ์ทดลอง
|
- นักเรียนนำเสนอสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
-
นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง
และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน(โรคอ้วน) place mat
-
เขียนweb เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัย
ที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
-
ทดลองหยดน้ำมันพืช 2-3 หยด ลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
พูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
- สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
ชิ้นงาน
-
ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมัน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน
และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้
รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย 1 เดือน เพื่อลดน้ำหนัก
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
15
- 17
|
โจทย์
-สารอาหารวิตามิน
เกลือแร่ และกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่
-กระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
Key
Question
-
นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- - เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
- -
ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- - คอมพิวเตอร์
-
อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
|
-
ครูพานักเรียนเลนเกมเกี่ยวกับผลไม้ชวนคิด
- แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละเท่าๆ กัน
ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจัดหมวดหมู่รสชาติผลไม้
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?”
-
ครูชวนคุยเกี่ยวกับประโยชน์จากอาหารประเภทผักผลไม้
-
นักเรียนสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น การ์ตูนช่อง , fort chart , Mind mapping ฯลฯ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
เล่นเกมผัก ผลไม้ชวนคิด
-
สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
-
อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
-
ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
-
สร้างชิ้นงานกระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่จัดอยู่ในประเภทวิตามินและเกลือแร่
ประโยชน์จากอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ที่ค่อยช่วยเป็นตัวเร่งและควบคุมปฏิกิริยาต่าง
ๆ รักษาความสมดุลของกรด ด่าง และน้ำในร่างกาย ช่วยในการรับ-ส่งประสาทความรู้สึก
ควบคุมการรัดหดตัวของกล้ามเนื้อ ตลอดจนช่วยในการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมเกมผัก
ผลไม้และนำเสนอวิธีการตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
........................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
18
|
โจทย์
-
การเลือกซื้อ
-
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Key
Questions
- นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย
อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
-
place mat
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- - ภาพเกี่ยวกับผู้ซื้อ เลือกอาหารตามท้องตลาด
- - ภาพสัญลักษณ์ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
-
คอมพิวเตอร์
|
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
-
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
-
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
-
นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้อสิ้นค้าอย่างปลอดภัย
-
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความสำคัญอย่างไรกับผู้บริโภค
ชิ้นงาน
- placemat
การเลือกซื้ออาหารอย่าง
ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
-
ชาร์ตเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจการเลือกซื้ออาหารอย่างมีวิจารณญาณ
และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะ ICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมการเลือกซื้ออาหารอย่างปลอดภัย
และอภิปรายกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
19
- 20
|
โจทย์
- นำเสนอโดยสารคดี หนังสั้น เพลง
-
จัดนิทรรศการอาหารสุขภาพ จัดแสดงผลิตภัณฑ์สินค้า(เปิดตลาด)
Key
Questions
- นักเรียนคิดว่าจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนมาตลอด 18 สัปดาห์ ในรูปแบบใด
-
นักเรียนจะทำอาหารอะไรบ้าง เพื่อมาเปิดตลาดจัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เมนูอาหารต่างๆ
- รูปแบบการเปิดตลาด
- สินค้า
|
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
-
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
-
นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
-
นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสรุปชิ้นงานผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง
-
ช่วยกันคิดวางแผนการเปิดตลาด เพื่อจัดจำหน่ายสินค้า
-
นักเรียนขายอาหารที่ร่มไผ่(เปิดตลาด)
-
จัดนิทรรศการให้ความรู้ในชุมชน
ชิ้นงาน
-
สรุปการเรียนรู้ผ่านสารดดี หนังสั้น เพลง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายได้เกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้ที่เรียนมาถ่ายทอดผ่านสารคดี
หนังสั้น เพลง ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมออกแบบพื้นที่จัดจำหน่ายอาหารบริเวณร่มไผ่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
21
|
โจทย์
-
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-
ประเมินตนเอง
Key
Question
นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
จัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
Show
and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู/ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กระดาษA3 , A4
- สี ปากกา ไม้บรรทัด
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสรุป Mind
Mapping(หลังเรียน)อย่างไร”
-
นักเรียนเขียนสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)
และตอบคำถามสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
-
นักเรียนเขียนสรุปการประเมินตนเอง สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
กับสิ่งที่จะนำไปพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมในภาคเรียนหน้า
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
นักเรียนเขียน Mind Mapping(หลังเรียน)
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
นักเรียน เขียนประเมินตนเองตลอด 1 ภาคเรียน
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Mind Mapping(หลังเรียน)
-
เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถสรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้(หลังเรียน)
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย
: “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 /2557
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
|
มาตรฐาน
ว 1.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1 ม.1/7)
- สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้
(ศ 1.1 ม.1/1)
- สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
(
ศ 1.1ม.1/2)
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
|
มาตรฐาน
พ 1.1
- สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 ม.1/1)
- สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1 ม.1/2)
- สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (พ 1.1 ม.1/3, 4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
- สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
- ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม.1/2)
- สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ
สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ม.2/1)
- สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
..........
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้ (ศ 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน
ศ 1.2
- สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน
ศ 3.2
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
|
- สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้
(พ 1.1 ม.2/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ 1.1ม.2/2)
- สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
แต่ละช่วงของชีวิตได้ (พ 1.1 ม.3/1)
- สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ (พ 1.1 ม.4-6/2)
- สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์
และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
(พ 2.1ม.1/1)
|
มาตรฐาน
ง 2.1
- สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน
และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้
เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
(ง 3.1 ม.1/2)
- สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน
ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
....................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
||||
- ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
- วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
- กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน
โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล
(ว8.1 ม.2/1 )
- นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
- สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้ (ว 8.1 ม.1/4)
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน
ว 3.2
- ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7
|
มาตรฐาน
พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
|||
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
|||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
||||
มาตรฐาน
ว 3.1
- สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร (ว3.1ม.1/2)
- สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ (ว3.1ม.1/1)
- สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
(ว3.1ม.1/3)
|
มาตรฐาน
ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
|||||||
- หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
- ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
- กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
|
มาตรฐาน
ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง
ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง
๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
|
มาตรฐาน
พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
|
|||
..................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
|
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก
ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
||
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
|
มาตรฐาน ว 1.1
- ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7)
-ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ
โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา
ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้
เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน
ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น
(ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง
ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้
(ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
|
..................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
|
- สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)
- ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
(ว1.1ม.1/10)
- อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)
|
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓
มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
การทำงานกลุ่ม
(ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ
เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
และได้ทำ ไทม์ไลน์ วางแผนวันเวลาของเรา
สิ่งที่ได้ในวันนี้ (25 เมษายน
2560)
วันนี้ได้ทำจิตอาสาที่ห้อง
ป. 4
โดยครูณี วันนี้ครูเอาข้าวสารหอมนิลมา และถามว่าเห็นแล้วคิดถึงอะไร.....
แล้วครูให้เรากำข้าวสารออกมาวางไว้บนกระดาษ และทำให้เป็นรูปอะไรก็ได้ แล้วให้เล่านิทานเวียนไปเรื่อยๆ
แต่เป็นเรื่องราวเดี่ยวกัน ทำเช่นนี้ก็ช่วยพัฒนาทักษะกล้ามเนื้อ ความคิดสร้างสรรค์
จินตนาการ เป็นต้น การทำจิตศึกษากับเด็กอนุบาลถึง ป.๑
ยังไม่ค่อยเน้นความสมเหตุสมผลมากนัก นักเรียนสามารถจิตนาการได้ตามที่นักเรียนอยากให้เป็น
ไม่มีผิด ไม่มีถูก
ต่อมาก็ขึ้นมาที่ห้องอบรม
และได้ทำแผนจิตศึกษาเพิ่มอีก ๓ แผน ดังนี้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา” ระดับชั้น ประถมศึกษา
วัน
|
กิจกรรม
|
เป้าหมาย
|
กระบวนการดำเนินกิจกรรม
|
สื่อ/อุปกรณ์
|
พุธ
(โยคะ)
|
โยคะ
|
ขั้นเตรียม :
ฝึกการมีสติกลับมารู้ตัว
จดจ่อกับสิ่งที่ทำ
รับรู้ลมหายใจ
|
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-
ครูนำกิจกรรมด้วยการให้นักเรียนยืนหลับตา
กลับมาอยู่กับตัวเอง
มีสติ รับรู้ลมหายใจเข้า-ออก ตาม
จังหวะ
-
นักเรียนยืดหยุ่นร่างกาย
ผ่อนคลายส่วนต่างๆ
เพื่อให้กล้ามเนื้อได้คลายตัว
ปลอดภัยอวัยวะในการฝึกโยคะ
|
เพลงสปาผ่อนคลาย
|
ขั้นกิจกรรม
:
-
ฝึกการมีสติรู้ตัว การมี
สมาธิจดจ่อ
-
เห็นคุณค่าในตัวเอง ผู้อื่น
และสิ่งต่างๆรอบตัว
-
เห็นความสัมพันธ์และ
การเชื่อมโยงระหว่างตนเองกับสิ่งต่างๆรอบตัว
-
ฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง
และสิ่งอื่น
|
ขั้นกิจกรรม
( 15
นาที )
-
ครูนำกิจกรรมและการพูดสร้างแรงให้เด็กเห็น
คุณค่าของกิจกรรมโยคะ
การฝึกปราณควบคุมจังหวะการเคลื่อนไหว ควบคุมหายใจออก – เข้า ทุกขณะจิต
-
ทุกคนยืนในท่าที่สบาย
ยืนให้เต็มสองฝ่าเท้า
สัมผัสให้ได้ถึงจุดที่รับน้ำหนักตัวของเรามากที่สุดที่ฝ่าเท้าทั้งสองข้าง
หัวไหล่ทั้งสอง ข้างต้องไม่เกร็ง หย่อนหัวไหลลงไป ผ่อนคลายที่หัวไหล่ทั้งสองข้าง
หายใจเข้าลึกๆ ผ่อนลมหายใจออกช้าๆ ตามดูลมหายใจที่เป็นปกติสัก 3-4 ลมหายใจ
-
ครูนำกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย
“โยคะ” ไร่
-
เรียงจากทวงท่ายืน
ไล่เรียงจากท่านั้น ผ่อนคลาย
เคลื่อนไหว
รับรู้ลมหายใจ
-
ตามด้วย Body scan สั้นๆ เพื่อผ่อนตระหนักรับรู้
ทุกลมหาย
|
|||
ขั้นจบ
-
เคารพคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ
(5
นาที)
-
ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจ
ของนักเรียนทุกคน
ขอบคุณเรื่องราวที่มีความหมายดีๆ
-
ครูและนักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา” ระดับชั้น ประถมศึกษา
วัน
|
กิจกรรม
|
เป้าหมาย
|
กระบวนการดำเนินกิจกรรม
|
สื่อ/อุปกรณ์
|
พฤหัสบดี
(ศิลปะ ดนตรี)
|
ชอบ...ได้เรื่อง
|
ขั้นเตรียม :
-
ฝึกการมีสติกลับมารู้ตัว
-
จดจ่อกับสิ่งที่ทำรับรู้ลม
หายใจ
|
ขั้นเตรียม (5 นาที)
-
ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
แล้วไหว้ทักทาย
กันด้วยความนอบน้อม
-
Brain Gym (16 ท่ารักงอมแงม, เช้าวันหนึ่ง
วันนั้น,กรรไกรกับก่อหญ้า)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆ
อย่างมีสติรู้
ลมหายใจเข้ายาวๆ
และหายใจออกช้าๆ 2-3
ครั้ง เพื่อ
รับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของ
ลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา
2
– 3 ครั้งเพื่อปรับแสง
|
-
เพลงสปาผ่อนคลาย
-
กระดาษ A4
-
ปากกา
|
ขั้นกิจกรรม
:
-
ฝึกการมีสติรู้ตัว การมี
สมาธิจดจ่อ
-
เห็นคุณค่าในตัวเอง ผู้อื่น
และสิ่งต่างๆรอบตัว
-
เห็นความสัมพันธ์และ
การเชื่อมโยงระหว่างตนเองกับสิ่งต่างๆรอบตัว
-
ฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง
และสิ่งอื่น
|
ขั้นกิจกรรม
( 15
นาที )
-
ครูส่งตะกร้าอุปกรณ์ให้นักเรียน
นักเรียนหยิบคน
ละหนึ่งชุด
(กระดาษ A4, ปากกา) มีการไหว้ขอบคุณกันและกันอย่างนอบน้อม
-
ครูให้นักเรียนวาดรูปอะไรก็ได้ตามจินตนาการที่
นักเรียนชอบ
เสร็จแล้วให้ตั้งชื่อรูปภาพนั้น
-
ครูให้นักเรียนโชว์ภาพของตนเองรายบุคคล
พร้อมบอกชื่อภาพ
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม นักเรียนเห็นภาพ
ของเพื่อนแล้วนักเรียนเห็นอะไร, รู้สึกอย่างไร”
-
ครูให้นักเรียนส่งกระดาษที่วาดรูปเสร็จแล้ว
ส่งไปทางขวามือของตนเอง
-
ครูให้นักเรียนเล่านิทานจากกระดาษที่อยู่ข้างหน้า
ตนเอง
โดยมีความเชื่อมโยงกันทั้งวง
-
นักเรียนร่วมนำเสนอแลกเปลี่ยนเรื่องราวของ
ตนเอง,
ผลงานของตนเอง
|
|||
ขั้นจบ
เคารพคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ
(5
นาที)
- ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจ
ของนักเรียนทุกคน
ขอบคุณเรื่องราวที่มีความหมายดีๆ
-
ครูและนักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา” ระดับชั้นประถมศึกษา
วัน
|
กิจกรรม
|
เป้าหมาย
|
กระบวนการดำเนินกิจกรรม
|
สื่อ/อุปกรณ์
|
ศุกร์
(วรรณกรรม นิทาน เรื่องเล่า ประสบการณ์)
|
เรื่องเล่าเฮเลน เคลเลอร์
|
ขั้นเตรียม
:
-
รู้ตัว มีสติ
-
มีสมาธิ จิตจดจ่อ
|
ขั้นเตรียม
(5
นาที)
-
ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
แล้วไหว้ทักทายกัน
ด้วยความนอบน้อม
-
Brain Gym (จีบ-แอล,
16 ท่ารักงอมแงม, กลมเหลี่ยม)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆ
อย่างมีสติ
หายใจเข้ายาวๆ และหายใจออกช้าๆ 2-3
ครั้ง เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูพูดกับนักเรียนถ้านักเรียนได้ยินที่ครูพูด
ให้ยกมือขวาขึ้น – เอามือลง
ถ้าได้ยินที่ครูพูดให้
ยกมือซ้ายขึ้น – เอามือลง
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา
2 –
3 ครั้งเพื่อปรับแสง ถามนักเรียนว่ามองเห็นชัดเจนไหม
เห็นเพื่อนข้างๆชัดเจนไหม และมองเห็นครูชัดเจนไหม
|
-
รูปภาพ, หนังสือ
-
กระดาษ A4
-
ปากกา
-
เพลงสปาผ่อนคลาย
|
ขั้นกิจกรรม :
-
ฝึกการมีสติรู้ตัว
การมี
สมาธิจดจ่อ
-
เห็นคุณค่าในตัวเอง
ผู้อื่น
และเข้าใจเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
-
ฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเอง และสิ่งอื่น
|
ขั้นกิจกรรม ( 15
นาที )
-
ครูนำรูปภาพผู้หญิงคนหนึ่งให้นักเรียนดู
ชื่อ
ว่าเฮเลนเคลเลอร์หญิงที่ตาบอดและหูหนวก
-
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม
“นักเรียน
เห็นอะไร, รู้สึกอย่างไร”
-
ครูเล่าเรื่อง
เฮเลน เคลเลอร์ จากที่ได้อ่าน
หนังสือ the
Story of my Life Helen keller
หรือจากภาพยนตร์
-
ครูส่งกระดาษและปากกา
พร้อมถาม
นักเรียนว่ารู้สึกอย่างไร แล้วให้ส่งต่อไปเรื่อยๆ
มี
การไหว้ขอบคุณกันและกันอย่างนอบน้อม
-
ครูให้นักเรียนเขียนว่ารู้สึกอย่างไร,
คิด
อย่างไรและเกิดแรงบันดาลใจหรือไม่อย่างไร
-
นักเรียนร่วมนำเสนอแลกเปลี่ยนเรื่องราว
ของตนเอง, ผลงานของตนเอง
|
|||
ขั้นจบ
-
เคารพคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ (5 นาที)
-
ครูพูดเสริมแรงชื่นชม
Empower
ในความ
ตั้งใจของนักเรียนทุกคน
ขอบคุณเรื่องราวที่มีความ
หมายดีๆ
-
ครูและนักเรียนไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกัน
|
เคลียร์งานส่งในบล็อกให้หมด
ครูพรก็ได้แนะนำวิธีการทำชิ้นงาน และการสร้างสัมพันธภาพกับผู้คน
และบอกถึงวิถีการดำเนินงานของโรงเรียน แต่ยังไม่ระเอียดให้เราไปสอบถามคุณครูที่ได้สอนห้องเดี่ยวกับเรา
ของดิฉันก็คือ อยู่ห้อง ป.๑ ครูประจำชั้นคือ ครูแดง เราก็ต้องไปสอบถามครูแดง
เรื่องที่เราอย่างรู้ เช่น นักเรียน ป.๑ เรียนภาษาไทยแบบไหน นักเรียน ป.๑ อ่านได้แล้ว
หรือกำลังหัด นักเรียน ป.๑ ส่วนมากจะเป็นอย่างไร เพราะคนที่ใกล้ชิดกับนักเรียนจะรู้มากที่สุด
เราจะไปถามการทำแผน และวิถีต่างๆ ของระดับประถมศึกษากับครูณีด้วย
เพราะครูณีจะดูแลระดับประถมศึกษาทั้งหมด สอบถามเรื่องการเขียนแผนการสอนควรไปในแนวทางไหน
สิ่งใดที่นักเรียนสนใจ จิตศึกษาของนักเรียน ป.๑ ควรเป็นอย่างไร
เรียนรู้พฤติกรรมความเข้าใจ
1. อธิบายได้อย่างแตกฉาน
2. ซาบซึ้งตระหนัก
3. เปลี่ยนแปลง
4. ทำเป็น
***คำถามที่ดีนำไปสู่คำตอบที่สำคัญ
ตรงนี้จะเป็นทั้งความรู้ใหม่
และแรงบันดาลใจ
คุณครูจากโรงเรียนต่างๆ ๔ โรงเรียนที่มาอบรมด้วยกัน
นำเสนอ การทำ Time Line โรงเรียนของตน
สรุปได้ดังนี้
คุณครูจะนำเสนอวิธีการปฏิบัติแต่ละโรงเรียน ส่วนมากก็จะนำเอาความรู้ที่อบรมไปใช้ จะเปลี่ยนคำพูดบ้างคำที่อาจรุนแรงกับนักเรียน จะพูดเสียงที่อ่อนโยนขึ้น จะไม่มีเสียงกริ่ง เสียงออด และเสียงระฆัง นักเรียนจะรู้เวลาด้วยตัวหนังเรียนเอง โดยครูจะเป็นแบบอย่างให้นักเรียนดู แล้วต่อไปนักเรียนก็จะเริ่มซึมซับเรื่อยๆ และการออกแบบการเรียนการสอนนักเรียนก็จะมีส่วนในการออกแบบด้วย ผู้ปกครองก็จะมามีส่วนร่วมด้วยเช่นกัน โรงเรียนจะไม่เปลี่ยนไปเลยทั้งหมด จะค่อยๆเปลี่ยนไปทีละเล็กละน้อย สิ่งใดที่โรงเรียนเคยใช้ที่ดีอยู่แล้วก็ยังใช้ต่อ เช่น โครงการ TrueMove ที่จะทำแน่นอนคือจะลดกิจกรรมหน้าเสาธงลด จะมีจิตศึกษา และ Body scan คุณครูก็จะมี AAR กันทุกสัปดาห์จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลองผิดลองถูก และให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
คุณครูจะนำเสนอวิธีการปฏิบัติแต่ละโรงเรียน ส่วนมากก็จะนำเอาความรู้ที่อบรมไปใช้ จะเปลี่ยนคำพูดบ้างคำที่อาจรุนแรงกับนักเรียน จะพูดเสียงที่อ่อนโยนขึ้น จะไม่มีเสียงกริ่ง เสียงออด และเสียงระฆัง นักเรียนจะรู้เวลาด้วยตัวหนังเรียนเอง โดยครูจะเป็นแบบอย่างให้นักเรียนดู แล้วต่อไปนักเรียนก็จะเริ่มซึมซับเรื่อยๆ และการออกแบบการเรียนการสอนนักเรียนก็จะมีส่วนในการออกแบบด้วย ผู้ปกครองก็จะมามีส่วนร่วมด้วยเช่นกัน โรงเรียนจะไม่เปลี่ยนไปเลยทั้งหมด จะค่อยๆเปลี่ยนไปทีละเล็กละน้อย สิ่งใดที่โรงเรียนเคยใช้ที่ดีอยู่แล้วก็ยังใช้ต่อ เช่น โครงการ TrueMove ที่จะทำแน่นอนคือจะลดกิจกรรมหน้าเสาธงลด จะมีจิตศึกษา และ Body scan คุณครูก็จะมี AAR กันทุกสัปดาห์จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลองผิดลองถูก และให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
สิ่งที่ได้ในวันนี้ (26 เมษายน
2560)
ช่วงเช้าเป็นกิจกรรมทำจิตศึกษาที่ห้องเรียน
ร่วมกับคุณครูที่มาจากจังหวัดกาจนบุรี วันนี้ตัวแทนคุณครูเป็นคนทำจิตศึกษา
โดยใช้วิชาภาษาไทย คือจะแจกบัตรคำให้กับทุกคน แล้วถามว่าเห็นแล้วคิดถึงอะไร
และให้แต่งนิทานกันเป็นวงร่วมกัน
การทำเช่นนี้กับนักเรียนจะฝึกให้นักเรียนมีจินตนาการ คิดนอกกรอบ ได้ใช้ภาษาในการสื่อสาร
ได้กระบวนการคิดเชื่อมโยง และฝึกเป็นคนกล้าคิด กล้าแสดงออกอีกด้วย
เมื่อเข้าห้องอบรมใหญ่ก็ได้เรียนรู้วิธีการสอนคณิตศาสตร์
การสอน ถ้าเป็นเด็กเล็กจะสอนให้รู้จักหน่วยจิ๋ว คือ 1
หน่วย แท่ง 10 หน่วยร้อย จะเน้นให้นักเรียนได้ทักษะคณิตศาสตร์
คือ แก้ปัญหา ให้เหตุผล แปรรูป สร้างในสมองได้ ส่วนภาษาไทยแบบนอกกะลา จะสอนแบบที่เรายังไม่เคยเห็นโรงเรียนที่ไหนทำมาก่อน
แต่เมื่อใช้วิธีนี้แล้วกลับเป็นผลดีเพราะทำให้นักเรียนอยากเรียนมากขึ้น ไม่จำเจ
ไม่ได้ท่องจำ ไม่ได้จำไปแล้วก็ลืม กระบวนการสอนที่นี้จะเน้นความเข้าใจ เพราะเมื่อเราเข้าใจแล้ว
เราก็จะสามารถเก็บความรู้นั้นเป้นความรู้ระยะยาวได้
ต่อมาคุณครูแต่ละโรงเรียนก็จะออกมานำเสนอการทำ
Timeline
ของโรงเรียนตนเอง
วางแผนวิธีการปฏิบัติแต่ละโรงเรียนที่จะนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้อย่างไรบ้าง
ความรู้ใหม่ที่ได้
ได้เรียนรู้วิธีการสอนภาษาไทยแบบนอกกะลา
คือจะสอนโดยผ่านวรรณกรรม เพราะวรรณกรรมจะมีภาษาที่เรียบเรียงสวยงาม
แตกต่างจากนิยาย ที่เน้นแค่ด้านอารมณ์
ส่วนทางวรรณกรรมจะเน้นคุณประโยชน์ทางกระบวนการคิดหลายๆด้าน
และยังฝึกให้นักเรียนรักการอ่านอีกด้วย แต่ละชั้นปีก็จะมีวรรณกรรมที่แตกต่างกัน
จะแบ่งความยากง่ายตามระดับความสามารถของนักเรียน เช่น อนุบาล ป.1 ก็จะเป็นนิทาน มีภาพประกอบ คำที่ใช้จะเป็นคำง่ายๆ ที่เด็กเข้าใจได้ ส่วน
ประถมปลายก็จะเริ่มเป็นวรรณกรรมที่ง่ายหน่อย ภาษายังไม่ยากหนัก
แต่จะเป็นเรื่องราวที่ค่อนข้างยาวแล้ว ส่วนมัธยม ก็จะเพิ่มระดับภาษาขึ้น
มีคำศัพท์ที่ยากขึ้น และสะท้อนให้เห็นคุณค่าด้านต่างๆ คุณครูที่สอนภาษาไทย
หรือวิชาใดๆก็ตาม จะไม่มีการให้นักเรียนท่องจำ
จะให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่แท้จริง
นักเรียนจะมีส่วนในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ออกความคิดเห็น
และจะมีการสรุปเนื้อหาเมื่อจบบทเรียน
โดยไม่จำกัดว่าชิ้นงานนั้นคืออะไรแล้วแต่นักเรียนจะถนัดและทำด้านไหน เช่น
แผนผังความคิด การ์ตูนช่อง เพลง หรือการแสดงละคร ก็ได้
สิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจ
จากที่เราได้ดูวีดีโอ
และได้ฟังที่คุณครูแต่ละคนพูด ก็ทำให้เราอยากเป็นครูภาษาไทยที่ดี สามารถสอนผ่านวรรณกรรมได้อย่างไม่น่าเบื่อ
ครูภาษาไทยนั้นจะตั้งเป็นนักตั้งคำถาม
ให้นักเรียนได้รู้เป้าหมายในการใช้ภาษาในการสื่อสาร รับรู้ความต้องการ
ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ และฝึกการถ่ายทอดความรู้ออกมาโดยการใช้ภาษา
การสอนนักเรียนจะต้องเป็นไปตามลำดับขั้น เช่น 1 รับรู้และเข้าใจความหมาย
2 รับรู้การใช้สัญลักษณ์แทนความหมาย ขั้นที่ 3 ขั้นเทียบเคียง และขั้นที่ 4
ขั้นแตกแขนง
วันนี้คือวันสุดท้ายของการอบรม
เราได้เดินทางกลับโดยรถไฟ จากบุรีรัมย์มาโคราช แต่จากโรงเรียนมายังสถานีรถไฟ
เราก็ได้รับน้ำใจจากคุณครูที่มาอบรมด้วยกัน เรานั่งรถด้วยกันทั้งหมด 14
คน ซึ่งจริงๆรถคันนี้สามารถจุคนได้เต็มที่คือ 7 คน
แต่เราจัดไป 2 เท่าเลย ^^ คือแน่นมาก
แต่ก็อบอุ่นดี ปลื้มในน้ำใจของคุณครูทุกคนมาก
เราพูดคุยสนทนากันอย่างสนุกสนานจนลืมความแน่นกันเลยทีเดียวค่ะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น